- เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับไดออกซิน
- ไดออกซินคืออะไร
- คุณสมบัติของสารไดออกซิน
- การเกิดและแหล่งกำเนิดไดออกซิน
- ความเป็นพิษของไดออกซินที่มีต่อร่างกาย
- การกระจายตัวของสารไดออกซินลงสู่สิ่งแวดล้อม
- การตรวจวัดสารไดออกซิน
- การจัดการกากของเสีย
- มาตรฐานควบคุมสารไดออกซินของประเทศไทย
- มาตรการควบคุมไดออกซินและฟิวแรนในระดับโลก
- บทสรุป
- อ้างอิง
- All Pages
การจัดการกากของเสีย (ปิยาณี ตั้งทองทวี, 2546)
วิธีจัดการกากของเสียไดออกซินที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยและเป็นวิธีที่ USEPA แนะนำคือ การเผา (Incineration) โดยเตาเผาที่เหมาะสมมี 3 แบบ คือ
ตารางที่ 8 เปรียบเทียบค่ามาตรฐาน PCDDs/PCDFs จากเตาเผาอุณหภูมิสูงของประเทศต่างๆ
ประเทศ |
ค่ามาตรฐาน |
ประเภทเตาเผา |
ออสเตรีย แคนาดา สหภาพยุโรป เนเธอร์แลนด์ ไต้หวัน ญี่ปุ่น(มาตรฐานเก่า) ญี่ปุ่น(มาตรฐานใหม่) สหรัฐอเมริกา(มาตรฐานเก่า) สหรัฐอเมริกา(มาตรฐานใหม่) |
0.1ng. I-TEQ/Nm3 0.1 ng. I-TEQ/Nm3 0.1ng. I-TEQ/Nm3 1.0 ng. I-TEQ/Nm3 0.5 ng. I-TEQ/Nm3 0.5 ng. I-TEQ/Nm3 0.1ng. I-TEQ/Nm3 30 ng-Total/Nm3 13 ng-Total/Nm3 |
เตาเผาทุกขนาด เตาเผาทุกขนาด เตาเผาทุกขนาด เตาเผาทุกขนาด เตาเผาทุกขนาด เตาเผาทุกขนาด เตาเผาขนาดใหญ่ เตาเผาขนาดใหญ่ เตาเผาขนาดใหญ่ |
ตารางที่ 8 เปรียบเทียบค่ามาตรฐาน PCDDs/PCDFs จากเตาเผาอุณหภูมิสูงของประเทศต่างๆ (ต่อ)
ประเทศ |
ค่ามาตรฐาน |
ประเภทเตาเผา |
ประเทศไทย (2540)
ประเทศไทย (2545) |
30 ng-Total/Nm3
0.5 ng. I-TEQ/Nm3 |
เตาเผามูลฝอยชุมชนขนาดตั้งแต่ 1 ตัน/วันขึ้นไป เตาเผาสิ่งปฏิกูลหรือเตาเผาที่ไม่ใช้แล้ว |
ที่มา : จารุพงศ์ บุญหลง (2547)
ตารางที่ 9 ค่ามาตรฐานของสารไดออกซินจากตัวกลางสิ่งแวดล้อมที่กำหนดโดยประเทศแคนาดา
ตัวกลางสิ่งแวดล้อม |
ค่ามาตรฐาน |
|
อากาศ น้ำดื่ม น้ำผิวดิน ดิน |
บรรยากาศ (24 ชั่วโมง) ปริมาณมากที่สุดที่อนุญาตให้ตรวจพบได้ กำลังดำเนินการพิจารณา - พื้นที่ที่อยู่อาศัย - พื้นที่การเกษตร |
5 พิโคกรัม TEQ ต่อคิวบิกเมตร 15 พิโคกรัม TEQ ต่อลิตร - 1000 พิโคกรัม TEQ ต่อกรัม 10 พิโคกรัม TEQ ต่อกรัม |
ที่มา : Ministry of Environment and Energy of Canada (2008)